โรคข้อเสื่อม ( Osteoarthritis ) คือ ความผิดปกติของข้อกระดูกแบบเรื้อรัง การสึกหรอที่ผิวกระดูกอ่อนหุ้มข้อ ปัจจัยการเกิดโรค คือ อายุ และ อุบัตติเหตุ อาการเจ็บปวดบริเวณข้อ ทำให้การเคลื่อนไหวตัวได้น้อย โดยเฉพาะ ข้อเข่า ข้อเท้า ข้อมือ ข้อสะโพก ข้อกระดูกสันหลัง เป็นต้น
โรคข้อเสื่อม เกิดกับกระดูกอ่อน เกิดกับเยื่อหุ้มข้อ ข้อนิ้วมือ ข้อมือ ข้อกระดูกต้นคอ ข้อกระดูกส่วนหลัง อาการปวด บวม แดง ร้อนบริเวณข้อกระดูก เคลื่อนไหวลำบาก คนอายุ 50 ถึง 60 ปี มีโอกาสเสี่ยงสูง โดยเฉพาะ สตรี มีโอกาศเป็นมากกว่าชาย 2 เท่า ลักษณะเด่นของโรคนี้ คือ ข้อฝืดในช่วงเช้า มีอาการปวดตามข้อ มีเสียงดังกรอบแกรบจากข้อกระดูก
สำหรับชนิของโรคข้อเสื่อม สามารถ แบ่งได้ 2 ชนิด คือ ข้อเสื่อมปฐมภูมิ และ ข้อเสื่อมทุติยภูมิ รายละเอียด ดังนี้
สำหรับปัจจัยการเกิดข้อกระดูกเสื่อม คือ อายุมากเกิดการเสื่อมสภาพของข้อกระดูกตามการใช้งาน น้ำหนักตัวที่มากของมนุษย์ อุบัติเหตุที่เกิดการกระแทกอย่างรุนแรง กรรมพันธุ์ ยังมีปัจจัยอื่นๆที่เกี่ยวข้อง และส่งผลต่อการเสื่อมของข้อกระดูกเร็วกว่าปกติ มีดังนี้
การเสื่อมของผิวกระดูกอ่อน ที่เป็นสาเหตุของโรคข้อเสื่อมนั้น สามารถแบ่งระยะของความเสื่อมได้ 5 ระยะ รายละเอียดของระยะต่างๆ ดังนี้
โรคข้อเสื่อมเป็นความผิดปกติของข้อแบบ synovial และ diarthrodial ที่มีลักษณะเกิดการเสื่อมของกระดูกอ่อนผิวข้อ จะมี 3 ลักษณะ คือ เกิดกระดูกงอกบริเวณขอบข้อ และ เกิดพังผืดบริเวณเยื่อหุ้มข้อ รวมถึงเกิดการเปลี่ยนแปลงชีวเคมีบริเวณข้อ รายละเอียดของการลักษณะการเกิดโรคมีรายละเอียดดังนี้
อาการของโรคข้อเสื่อม มีอาการหลักๆ คือ อาการปวดตามข้อ ซึ่งยังมีอาการอื่นอีก รายละเอียดดังนี้
สำหรับความรุนแรงของโรคข้อเสื่อมนั้ เราสามารถแบ่งความรุนแรงของโรคได้ 4 ระดับ คือ ระดับ 1 มีการงอกของกระดูกใหม่จำนวนน้อย ระดับ 2 มีการงอกของกระดูกใหม่จำนวนมาก ระดับ 3 เกิดช่องว่างของข้อกระดูกแคบลง และ ระดับ 4 ช่องว่างระหว่างข้อมีขนาดแคบมาก
สำหรับการ รักษาโรคข้อเสื่อม ทางการแพทย์ไม่สามารถรักษาโรคนี้ให้หายขาดได้ หากาเหตุของการเกิดโรคเกิดจากการเสื่อมของร่างกายตามวัย การรักษาสามารถทำได้เพียงการบรรเทาอาการของโรค ซึ่งการรักษามึ 3 วิธี คือ การรักษาตัวโดนการทำกายภาพบำบัด การใช้ยารักษาและ การผ่าตัด รายละเอียดดังนี้
การป้องกันโรคเก๊าท์ที่สามารถทำได้ คือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคด้วยการไม่รับประทานอาหารที่มีกรดยูริกสูงต่อเนื่องเป็นเวลานาน ส่วนการดูแลตัวเองของผู้ป่วย ได้แก่